1.ความหมายของเภสัชกร

เภสัชกร คือ ผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านสุขภาพ ซึ่งมีบทบาทหน้าที่หลายด้าน ทั้งในเรื่องการจ่ายยา การให้คาปรึกษาแนะนาการใช้ยา การติดตามการแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้ป่วย การผลิตและประกันคุณภาพยา การตลาดยา และการคุ้มครองผู้บริโภค


2.หน้าที่ของเภสัชกร

เภสัชกรจะมีหน้าที่จ่ายยาให้ผู้ป่วย แนะนาการใช้ยา ติดตามการใช้ยาให้ผู้ป่วย และเป็นผู้ผลิตยา เภสัชกรจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถหลายสาขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการแพทย์ ไม่ว่าจะเป็น ทางด้านคลินิก โรงพยาบาล และเภสัชชุมชน


3.คุณสมบัติทเี่หมาะสมกับอาชีพเภสัชกร

1.มีความละเอียดรอบคอบ ให้ความสาคัญและตระหนักว่างานที่ทานั้นเกี่ยวข้องกับชีวิตผู้คน

2.ใจรักงานบริการ มีความเอาใจใส่ดูแลคนอื่นดี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

3.มีความอดทน ใจเย็น สามารถอธิบายและให้ความรู้แก่คนทั่วไปที่ไม่เข้าใจได้

4.สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีความปกติเรื่องตาบอดสี

5.มีความสนใจงานด้านเคมี ชีววิทยา

6.รักการท่องจาหรืออ่านข้อมูลจานวนมาก

7.สามารถทางานร่วมกับผู้คนที่หลากหลายได้


4.เภสัชกรต้องเรียนอะไร

มัธยมศึกษาตอนปลาย สายวิทย์-คณิต

ระดับอุดมศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ แบ่งออกเป็นสายบริบาลและอุตสาหกรรม


5.วิชาที่เรียน

Physiology เรียนรู้ส่วนต่างๆของร่างกาย และระบบการทางานต่างๆ Biochemistry

Med Chem เรียนเกี่ยวกับโครงสร้างยา เรียนรู้และทาความเข้าใจ ยากลุ่มเดียวกันมีโครงสร้าง เหมือนหรือต่างกันตรงไหนบ้าง และโครงสร้างส่วนไหนเป็นจุดที่ยาออกฤทธิ์

Pharmaceutics เรียนเกี่ยวกับการทาสูตรตารับยา ได้เรียนยาทุกกลุ่ม ยาเม็ด ยาน้า ยาฉีด ยาหยอด ตา ฯลฯ แน่นอนว่าได้ทายาจริง ๆ

Pharmacology เรียนว่ายาในแต่ละกลุ่มออกฤทธิ์อย่างไร มีผลต่อร่างกายอย่างไร และมีข้อควรระวัง อะไร ฯลฯ

Food Chemistry จะเรียนเกี่ยวกับอาหาร การวิเคราะห์ปริมาณสารอาหารต่างๆ และอาหาร ทางการแพทย์ (อย่างพวกเอนชัวร์ หรือนมผงที่ชงให้คนเป็นเบาหวานกิน)

Botany วิชาพฤกษศาสตร์ เรียนเกี่ยวกับพืชวงศ์ต่างๆ สรรพคุณ เกี่ยวกับเครื่องสาอาง

Working Man Pharmacist

6.การเรียนในแต่ละชั้นปี

ชั้นปีที่ 1 เรียนวิทย์พื้นฐาน ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ ร่วมกับวิชาศึกษาทั่วไปและภาษา

ชั้นปีที่ 2-4 เรียนวิชาของคณะ ศึกษาวิชาเฉพาะทางเภสัชศาสตร์ จะศึกษาในหมวดวิชาวิทยาศาสตร์ การแพทย์พื้นฐาน ชีวเภสัชศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา สาธารณสุข หลักในการเกิดโรค และจุล ชีววิทยา ไล่ตั้งแต่พื้นฐานระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ไปจนถึงยากลุ่มต่าง ๆ โครงสร้างยา ขั้นตอนในการผลิต ควบคุมคุณภาพยา วิชาแนะแนวเภสัชสายต่างๆ หรือกฎหมายเกี่ยวกับยา

ชั้นปีที่ 5 เรียนวิชาตามสายที่เลือก โดยจะเรียนแบบลงลึก ในบางมหาวิทยาลัยอาจมีสาขาให้เลือก หลากหลาย

ชั้นปีที่ 6 ฝึกงานทั้งปี จะเหมือนกันหมดทุกมหาวิทยาลัย ดังนั้นจึงจะมีโอกาสได้เจอเพื่อนต่างมหา วิทยาลัย โดยมักจะฝึกงานแยกตามสายที่เลือก ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาล ร้านขายยา คลินิก โรงงานผลิตยา ศูนย์วิจัยต่าง ๆ ฯลฯ


7.เรียนจบคณะเภสัชศาสตร์ทางานอะไรได้บ้าง

1.เภสัชกรโรงพยาบาล

2.เภสัชกรชุมชน หรือ เภสัชกรร้านขายยา

3.เภสัชกรคุ้มครองผู้บริโภค

4.เภสัชกรการตลาด


8.เงินเดือนของเภสัชกร

1.อัตราเงินเดือนเภสัชกรในโรงพยาบาล ขั้นต่าเริ่มที่ 15,000 บาท โดยยังไม่รวมค่าอยู่เวรหรือใบ ประกอบวิชาชีพ

2.เภสัชกร รพ.สธ. เงินเดือน 17,000-19,000 บาท

3.เภสัชกรร้านยา ทาเลทั่วไป อยู่ที่ 30,000 บาท หากเป็นแหล่งท่องเที่ยว 40,000-60,000 บาทไม่ รวมค่าคอมมิชชั่นและโอที


9.มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนและมีชื่อเสียงในคณะเภสัชศาสตร์ (อ้างอิงจากปี65)

1.มหาวิทยาลัยมหิดล

2.มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์

3.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

4.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

5.มหาวิทยาลัยบูรพา

6.มหาวิทยาลัยขอนแก่น


10.ค่าเทอมตลอดหลักสูตร

โดยเฉลี่ยแล้ว สำหรับมหาวิทยาลัยรัฐบาลจะเริ่มต้นค่าเทอมที่ประมาณ 30,000+ บาท ต่อเทอม สำหรับมหาวิทยาลัยเอกชนจะอยู่ที่ประมาณหลักแสนบาทต่อเทอม โดยตลอดหลักสูตรประมาณ 900,000+บาทขึ้นไป

Pile of Books
Filipino laborer illustration